วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 21  เดือน  เมษายน  พ.ศ.  2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684



โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

-แผน  IEP
  แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
 เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน  และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมตามความต้องการและความสามรถของเขา
 ด้วยการจักสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
 โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีวัดและประเมินผลเด็ก


-การเขียนแผน  IEP
 คัดแยกเด็กพิเศษ
 ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
 ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ  จะทราบว่าต้องเริ่มฃ่วยจากจุดไหน
 เด็กสามารถทำอะไรได้/เด็กไม่สามรถทำอะไรได้
 แล้วจึงเริ่มเขียนแผน  IEP

-IEP ประกอบด้วย
 ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
 ระบุว่าเด็กต้องมีความจำเป็นที่จะได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
 การระบุความสามรถของเด็กในปัจจุบัน
 เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
 ระบุวันเดือนปีที่เริ่มทำการสอน  และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
 วิธีการประเมินผล

-ประโยฃน์ต่อตัวเด็ก
 ได้เรียนรู้ตามความสามรถของตน
 ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
 ได้รับการศึกษาและฟื้นฟุอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
 ถ้าเด็กเข้าเรียนในห้องเรียนจะไม่ถูกจัดให้อยู่ในห้องเรียนเฉยๆ

-ประโยฃน์ต่อครู
 เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงตามความสามรถและความต้องการของเด็ก
 เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก
 ปรับเปลี่ยนได้เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงไป
 เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
 ตวรจสอบและประเมินเป็นระยะ

-ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
 ได้มีส่วนร่วมในการจัดแผนการเรียนรายบุคคล  เพื่อให้เด็กได้พัมนาความสามารถได้สุงสุดตามศักยภาพ
 ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
 เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก  มีการติดต่อการสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง  และใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน

-ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
 1.เก็บรวบรวมข้อมูล
  รายงานทางการแพทย์
  รายงานประเมินด้านต่างๆ
  บันทึกจากผุ้ปกครอง  ครู  และผู้ที่เกี่ยวข้อง

2.การจัดทำแผน
 ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
 กำหนดจุดมุ่หมายระยะยาวและระยะสั้น
 กำหนดโปรแกกรมและกิจกรรม
 จะตองได้รับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

-กำหนดจุดมุ่งหมาย
 ระยะยาว
 ระยะสั้น

-จุดมุ่งหมายระยะยาว
 น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
 น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
 น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นได้

-จุดมุ่งหมายระยะสั้น
 ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะยาว  2-3  วัน  หรือ 2-3  สัปดาห์
จะสอนใคร
พฤติกรรมอะไร
เมื่อไร  ที่ไหน
พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน

3.การใช้แผน
 เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ครูจะนำไปใช้โดยใช้แผนระยะสั้น
 นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
 แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก
 จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมการเรียนการสอน
 ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามรถโดยคำนึง
  - ขั้นตอนการพัฒนาของเด็กปกติ
  - ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก
 -อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและมีผลต่อการแสดงออกของเด็ก

4.การประเมินผล
 -โดยทั่วไปจะประเมินผลภาคเรียนละครั้ง
 -ควรจะมีการกำหนดวิธีการประเมิน  และเกณฑ์วัดผล

***การประเมินทักษะหรือในแต่ละกิจกรรม อาจใฃ้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกันได้

การจัดทำ  IEP
 1.เก็บรวบนรวมข้อมูล
 2.การจัดทำแผน
 3.การใช้แผน
 4.การประเมิน



การประเมินอาจารย์
  อาจารย์การเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนมาให้สำหรับนักศึกษา

การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆมีการตั้งใจทำกิจกรรม การพูดคุยบ้างนิดหน่อย  แต่ก็ตั้งใจฟังเป็นระยะ

การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆ  มีการเตรียมตวามพร้อมในการมาเรียน


   

1 ความคิดเห็น: