วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 21  เดือน  เมษายน  พ.ศ.  2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684



โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

-แผน  IEP
  แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
 เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน  และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมตามความต้องการและความสามรถของเขา
 ด้วยการจักสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
 โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีวัดและประเมินผลเด็ก


-การเขียนแผน  IEP
 คัดแยกเด็กพิเศษ
 ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
 ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ  จะทราบว่าต้องเริ่มฃ่วยจากจุดไหน
 เด็กสามารถทำอะไรได้/เด็กไม่สามรถทำอะไรได้
 แล้วจึงเริ่มเขียนแผน  IEP

-IEP ประกอบด้วย
 ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
 ระบุว่าเด็กต้องมีความจำเป็นที่จะได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
 การระบุความสามรถของเด็กในปัจจุบัน
 เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
 ระบุวันเดือนปีที่เริ่มทำการสอน  และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
 วิธีการประเมินผล

-ประโยฃน์ต่อตัวเด็ก
 ได้เรียนรู้ตามความสามรถของตน
 ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
 ได้รับการศึกษาและฟื้นฟุอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
 ถ้าเด็กเข้าเรียนในห้องเรียนจะไม่ถูกจัดให้อยู่ในห้องเรียนเฉยๆ

-ประโยฃน์ต่อครู
 เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงตามความสามรถและความต้องการของเด็ก
 เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก
 ปรับเปลี่ยนได้เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงไป
 เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
 ตวรจสอบและประเมินเป็นระยะ

-ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
 ได้มีส่วนร่วมในการจัดแผนการเรียนรายบุคคล  เพื่อให้เด็กได้พัมนาความสามารถได้สุงสุดตามศักยภาพ
 ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
 เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก  มีการติดต่อการสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง  และใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน

-ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
 1.เก็บรวบรวมข้อมูล
  รายงานทางการแพทย์
  รายงานประเมินด้านต่างๆ
  บันทึกจากผุ้ปกครอง  ครู  และผู้ที่เกี่ยวข้อง

2.การจัดทำแผน
 ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
 กำหนดจุดมุ่หมายระยะยาวและระยะสั้น
 กำหนดโปรแกกรมและกิจกรรม
 จะตองได้รับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

-กำหนดจุดมุ่งหมาย
 ระยะยาว
 ระยะสั้น

-จุดมุ่งหมายระยะยาว
 น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
 น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
 น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นได้

-จุดมุ่งหมายระยะสั้น
 ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะยาว  2-3  วัน  หรือ 2-3  สัปดาห์
จะสอนใคร
พฤติกรรมอะไร
เมื่อไร  ที่ไหน
พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน

3.การใช้แผน
 เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ครูจะนำไปใช้โดยใช้แผนระยะสั้น
 นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
 แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก
 จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมการเรียนการสอน
 ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามรถโดยคำนึง
  - ขั้นตอนการพัฒนาของเด็กปกติ
  - ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก
 -อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและมีผลต่อการแสดงออกของเด็ก

4.การประเมินผล
 -โดยทั่วไปจะประเมินผลภาคเรียนละครั้ง
 -ควรจะมีการกำหนดวิธีการประเมิน  และเกณฑ์วัดผล

***การประเมินทักษะหรือในแต่ละกิจกรรม อาจใฃ้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกันได้

การจัดทำ  IEP
 1.เก็บรวบนรวมข้อมูล
 2.การจัดทำแผน
 3.การใช้แผน
 4.การประเมิน



การประเมินอาจารย์
  อาจารย์การเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนมาให้สำหรับนักศึกษา

การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆมีการตั้งใจทำกิจกรรม การพูดคุยบ้างนิดหน่อย  แต่ก็ตั้งใจฟังเป็นระยะ

การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆ  มีการเตรียมตวามพร้อมในการมาเรียน


   

วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 14  เดือน  เมษายน  พ.ศ.  2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684
เก็บภาพวันสงกราน  ที่บ้านกับครอบครัวมาฝากคะ

ทุกๆวัน  สงกรานต์  ลูกหลาน  ก็จะมีการนำเอาอัฐิ  คนเฒ่าคนแก่ที่ล่วงลับไปแล้วมาพรมแป้งหอม  เื่อเป็นศิริมงคน  และเป็นการระลึกถึง


หลังจากนั้นลูกหลานก็จะ  ทำการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ  ซึ่งเป็นขนบธรรมเนียนของประเพณีไทย





พร้อมแล้วคะ




พี่ๆ ที่บ้าน เล่นน้ำกันอย่างสนุกสนานไม่มีการทะเลาะวิวาท



เห็นเสื้อลายดอกไม่ใช่ใครที่ไหนนะคะ  แม่หมิวเองคะ  เล่นตั้งแต่เช้ายันเย็น
13  -  15  เลยละคะ


"รู้ไว้ใช่ว่า  ใส่บาแบกไปซิ"



สนุกกันแล้วเราก็มารู้จักประวัติวันสงกรานต์กันสักนิดนะคะ




ประวัติความเป็นมาสงกรานต์

    วันสงกรานต์   
 ก็เวียนมาบรรจบครบรอบอีกครั้งแล้วนะคะ  หลายคนจะเข้าใจวันสงกรานต์แต่เพียงการรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่  และการเล่นน้ำสงกรานต์เท่านั้น  แต่ในความเป็นจริงประเพณีสงกรานต์นี้ยังมีคติข้อคิดและคุณค่าต่าง ๆ สอดแทรกอยู่มากมาย  เป็นประเพณีที่ให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนมนุษย์ในสังคมและสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของความเป็นไทยได้อย่างชัดเจน  เช่น  ความกตัญญู  ความโอบอ้อมอารี  ความเอื้ออาทรต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้  น้ำ เป็นสื่อกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นประเพณีหนึ่งที่เก่าแก่ของไทยที่ได้ยึดถือปฏิบัติมาแต่ครั้งโบราณ  คอลัมภ์อยู่อย่างไทยในฉบับนี้จึงขอนำเสนอคุณค่าของประเพณีสงกรานต์ให้ได้รับทราบกันดังนี้นะคะ

    ความเป็นมา
                
                สงกรานต์เป็นประเพณีที่สำคัญและสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน โดยสันนิษฐานว่า เป็นประเพณีดั้งเดิมของอินเดีย  ต่อมาได้แพร่ขยายไปยังท้องถิ่นต่าง ๆ ได้แก่  ลาว  เขมร  พม่า  จีน  และไทย  ทั้งนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนดัดแปลงให้ต่างไปจากเดิมบ้าง ทั้งการประกอบพิธี  รูปแบบ  และพฤติกรรม  ในประเทศไทย  ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่า ได้มีประเพณีสงกรานต์มาตั้งแต่เมื่อใด แต่ได้ถือเอาวันที่ ๑๓ เมษายนของทุกปี  เป็นวันสงกรานต์  เสถียรโกเศศสันนิษฐานว่า  ไทยเรารับประเพณีขึ้นปีใหม่  ในวันที่ ๑๓ เมษายน มาจากอินเดียฝ่ายเหนือ  ช่วงเวลาดังกล่าวนี้ตรงกับการเปลี่ยนจากฤดูหนาวเป็นฤดูใบไม้ผลิ   หรือที่เรียกว่าฤดูวสันต์ของอินเดีย  จัดเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดของเขา  เพราะเป็นช่วงที่อากาศไม่หนาวจัด  ต้นไม้ผลิใบให้ความสดชื่น  บังเอิญช่วงเวลานี้ตรงกับช่วงเวลาที่คนไทยเราในสมัยโบราณว่างจากการทำนาจึงเป็นการเหมาะสมสำหรับคนไทยที่จะฉลองปีใหม่ในช่วงเวลาดังกล่าวด้วย
        
ทั้งนี้  ตำนานเกี่ยวกับสงกรานต์ยังมีปรากฏในศิลาจารึกที่วัดพระเชตุพน ฯ โดยย่อว่า  เมื่อวันสงกรานต์ตรงกับวันใดในแต่ละปี  ก็จะมีนางสงกรานต์ประจำวันนั้น ๆ นางสงกรานต์มีชื่อดังนี้ 
                
                    ทุงษเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันอาทิตย์   
                 โคราดเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันจันทร์ 
                 รากษสเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันอังคาร 
                 มัณฑาเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันพุธ
                 กิริณีเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันพฤหัสบดี  
                 กิมิทาเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันศุกร์
                 มโหทรเทวี  เป็น  นางสงกรานต์ประจำวันเสาร์     
                
                 นางสงกรานต์เป็นธิดาของท้าวมหาสงกรานต์หรือท้าวมหาพรหม  มีหน้าที่ผลัดเปลี่ยนกันดูแลเศียรของท้าวกบิลพรหมซึ่งประดิษฐานอยู่ในพานแว่นฟ้า  เนื่องจากท้าวกบิลพรหมแพ้พนันการตอบปัญหาแก่ธรรมบาลกุมารจึงต้องตัดเศียรของตนบูชาแก่ธรรมบาลกุมาร  ก่อนจะตัดเศียรท้าวกบิลพรหม ได้เรียกธิดาทั้ง  ๗  ซึ่งเป็นนางฟ้า  บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาให้เอาพานมารองรับ  เนื่องจากเศียรของท้าวกบิลพรหมเป็นที่รวมแห่งความร้ายทั้งปวง ถ้าวางไว้บนแผ่นดินไฟจะไหม้โลก  ถ้าโยนขึ้นไปบนอากาศฝนจะแล้ง  ถ้าทิ้งลงในมหาสมุทรน้ำจะแห้ง ธิดาทั้ง  ๗  จึงผลัดเปลี่ยนกันถือพานรองเศียรของ ท้าวกบิลพรหมไว้คนละ ๑  ปี
                
                 เมื่อถึงวันสงกรานต์  คนไทยสมัยก่อนสนใจที่จะรู้ชื่อนางสงกรานต์  พาหนะทรง   เพราะคนไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ซึ่งจำเป็นต้องพึ่งพาน้ำฝนจากธรรมชาติ  คำทำนายต่าง ๆ เป็นการเตรียมพร้อม ในการที่จะต้องเผชิญกับภาวะต่าง ๆ เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่  ผลิตผลและการทำมาหากินทั่วไป
                
                 วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย จนถึงเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓ ทางราชการ จึงได้เปลี่ยนใหม่ โดยกำหนดเอาวันที่ ๑ มกราคม เป็น วันขึ้นปีใหม่ เพื่อให้เข้ากับหลักสากลที่  นานาประเทศนิยมปฏิบัติ อย่างไรก็ตามแม้จะมีการเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่  ประชาชนก็ยังยึดถือว่า    วันสงกรานต์มีความสำคัญ   สงกรานต์จึงเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย

อ้างอิง http://www.meemodel.com





















บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 7เดือน เมษายน  พ.ศ.  2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684




-ทักษะพื้นฐานทางการเรียน
 *เป้าหมาย
   การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
   มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
   เด็กรู้สึกว่าฉันทำได้
   พัฒนาความกระตื้อรื้อร้น  ความอยากรู้อยากเห็น
   อยากสำรวจ  อยากทดลอง

-ช่วงความสนใจ
  ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
  จดจอกิจกรรมได้ในช่วงเวลาหนึ่งพอสมควร

-การเลียนแบบ
  *การทำตามคำสั่ง  คำแนะนำ
    เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดชัดหรือไม่
    เด็กเข้าใจศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่
    คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่

-การรับรู้การเคลื่อนไหว
  ได้ยิ้น  เห็น  สัมผัส  ลิ้มรส  กลิ่น
   ตอบสนองอย่างเหมาะสม

-การควบคุมกล้ามเนื้อเด็ก
  การกรอกน้ำ  การตวง
  การต่อบล็อก
  ศิลปะ
  มุมบ้าน
  ช่วยเหลือตนเอง


-ตัวอย่างอุปกรณ์เด็กพิเศษ
  ลูกปัดไม้ขนาดใหญ่
  รูปต่อที่มีจำนวนชิ้นไม่มาก




  







-ความจำ
  การสนทนา
  เมื่อเช้าหนูทานอะไร
  แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
  จำตัวละครในนิทาน
  จำชื่อครู  จำชื่อเพื่อน
  เล่นเกมทายของที่หายไป


-ทักษะคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์
  


  


-การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
  จัดกลุ่มเด็ก
  เริ่มต้นเรียนรู้ช่วงเวลาสั้นๆ
  ให้งานเด็กอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
  ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
  ให้อุปกรณืที่เด็กคุ้นเคย
  ใช้อุปกรณืที่เด็กคุ้นเคย
  บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
  รู้ไหมว่าเมื่อไรจะเปลี่ยนงาน
  มีอุปกรณืไว้สับเปลัี่ยนใกล้มือ
  เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
  พูดในทางที่ดี
  จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
  ทำบทเรียนให้สนุก


การประเมินตนเอง
  ตั้งใจฟังอาจารย์มีคุยบ้างนิดหน่อย  วันนี้มาเรียนช้าไปนิด  มีการรร่วมกิจกรรมเวลาอาจารย์ยกตัวอย่าง


การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์    มาเรียนทันเวลา  มีการวางรองเท้าที่เป็นระเบียบ


การประเมินอาจารย์
  อาจารย์มีการเตรียมการเรียนการสอนมาสอนนักศึกษา  พร้อมที่จะสอนนักศึกษา




  
   
   

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684








อาจารย์มาร่วมเดินขบวน



การเดินขบวนของเอกการศึกษาปฐมวัย


พี่ๆปี  4  ก็มาร่วมเดินขบวนในวันนี้



ศิรดา และเพื่อนๆ  ก็มานะคะ



น้องๆจากสาธิตจันทรเกษม  ก็มาร่วมกิจกรรมในวันนี้ด้วย  น่ารักมากไม่ด้อไม่ซนไม่ง้อแง  จนเสร็จกิจกรรมการเดินขบวนเลยละคะ



พี่ๆ ปี 4 ร่วมเดินขบวน  


สังเกตดูเพื่อนๆตั้งใจมาร่วมกิจกรรมกันมากเลยคะ  แต่งกายเรียบร้อย  มีการติดเนตเก็บผมเรียบร้อย  เพื่อนๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี


อาจารย์เบียกับอาจารย์บาส  ก็มานะคะ


เพื่อนที่มาร่วมขบวน



ในช่วงบ่ายเป็นการแข่งกี่ฬาสีของแต่ละเอก การประดวกกองเชียร์
และเชียร์หลีดเดอร์




เพิ่มคำอธิบายภาพ




กองเชียร์จากน้องๆ  ปี2 



























บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 23 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684











การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆตั้งใจทำข้อสอบกันมาก  มาเรียนเร็ว  เพื่อนๆน่ารักมารออาจารย์

การประเมินอาจารย์
  ในวันนี้อาจรย์เบียรให้อาจารย์บาสคุ้มสอบเนื่องจากอาจารย์เบียรติดธุระ  แต่อาจารย์ก็มีการเตรียมข้อสอบมาให้นักศึกษาทำ








บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิ่น
วันที่ 17 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 14:10-17:30 ( อังคาร  บ่าย) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684






อาจารย์นำสีไม้มาแจกนักศึกษา


ได้สีใหม่ลองระบาละคะ



การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

-ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
 **เรียนรู้การดงรงชีวิตโดยอิสระให้ได้มากที่สุด
 การกิน
 การเข้าห้องน้ำ
 การแต่งตัว
 การทำกิจวัตรประจำวัน

-การสร้างความอิสระ
 การช่วยเหลือตนเอง
 อยากทำงานตามความสามรถ
 เด็กเรียนรู้การช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน  เด็กที่โตกว่า  และผู้ใหญ่

-ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
 การได้ทำด้วยตนเอง
 เชื่อมั่นในตนเอง
 เรียนรํู้ความรู้สึกที่ดี

-หัดให้เด็กทำเอง
 ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น  (ใจแข็ง)
 ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมาเกินไป
 ทำได้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
 "หนูทำช้า"  "หนูยังทำไม่ได้"
-จะช่วยเมื่อไร
 เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร  เบื่อ  หงุดหงิด  ไม่สบาย
 หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว
 เด็กรู้สึกว่ามีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่ต้องการ
 มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม










-ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
 แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
 เรียงลำดับตามขั้นตอน

-การเข้าส้วม
 เข้าไปในห้องส้วม
 ดึงกางเกงลง
ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
 ปัสสะวะ  หรือออุจจาระ
 ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
 ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
 กดชักโครกหรือตักน้ำราด
 ดึงกางเกงขึ้น
 ล้างมือ
 เช็ดมือ
 เดินออกจากห้องสวม

-การวางแผนทีละขั้น
 แยกกิจกรรมเป็นครั้งย่อยๆให้ได้มากที่สุด






สรุป  

ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
 ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความเร็จทั้งหมดทั้งมวล
ช่วยให้เด็กมีความมมั่นใจในตนเอง
เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ



กิจกรรมบำบัด






























กิจกรรม  นี้ช่วยฝึกในเรื่องของสมาธิ
ขั้นตอนสุดท้าย เป็นการนำ รูปวงกลมของเพื่อนๆ แต่ละคนมาติดรวมกัน
ซึ่งสามรถบอกได้ถึงความสามัคคีในกลุ่มเพื่อนได้เป็นอย่างดีคะ  สีแต่ละสี สามารถบอกถึงความแตกต่างได้

สีแดง  เป็นสีแห่งอำนาจแสดงถึงการมีพลัง
สีชมพู  เป็นสีที่ปลอบประโลมจิตใจ และความรู้สึกต่างๆ  สงบลง
สีส้ม  เป็นสีแห่งความเบิกบาน  และความรื่นเริง
สีเขียว  เป็นสีที่ช่วยให้เรามีอารมณ์ร่วมกับสิ่งอื่นรวมถึงธรรมชาติ
สีเหลือง  เป็นสีที่บ่งบอกถึงคาวมรู้สึกที่เบิกบาน    ความมีชีวิตชีวา
สีน้ำเงิน  เป็นสีแห่งความสงบ  เยือกเย็น
สีฟ้า  เป็นสีที่ให้ความรู้สึกอิสระ
สีม่วง  เป็นสีที่ให้การดูแล  และปลอบโยนให้สงบ
สีขาว  เป็นสีที่หมายถึงความบริสุทธิ์ทียิ่งใหญ่
สีดำ  เป็นสีที่บอกถึงความสงบ  และปกป้อง


เพลง  นกกระจิ๊บ

นั่นนก  บินมาลิบลิบ
นกกระจิ๊บ 1  2  3  4  5
อีกฝูงบินล่องลอยมา 6  7  8  9  10  ตัว

เพลง  เที่ยวท้องนา

ฉันท่องเที่ยวไป
ผ่านตามท้องไร่ท้องนา
เห็นฝูงวันกินหญ้า  1   2  3  4  5  ตัว
หลงเที่ยวเพลิดเพลิน
ฉันเดินพบอีกฝูงวัว
นับนับดูจนทั่ว  6  7  8  9  10  ตัว


เพลง  แม่ไก่ออกไข่

แม่ไก่ออกไข่วันละฟอง
ไข่วันละฟอง  ไข่วันละฟอง
แม่ไก่ของฉันออกไข่ทุกวัน
1  วัน  ได้ไข่  1  ฟอง


เพลง  ลูกแมว  10  ตัว


ลูกแมว  10  ตัวที่ฉนเลี้ยงไว้
น้องขอให้แบ่งไป  1  ตัว

ลูกแมว  10  ตัวก็เหลือน้อยลงไป
นับดูเหลือลูกแมว  9  ตัว


เพลง  ลุงมาชาวนา

ลุงมาชาวนาเลี้ยงวัว  เลี้ยงควาย
เอาไว้ใช้ไถนา
ลุงมาชาวนาเลี้ยงหมา  เลี้ยงแมว
ไว้เป็นเพื่อนลุงมา
หมาก็เห่า  บ๊อก  บ๊อก
แมวก็ร้อง  เมี๊ยว  เมี๊ยว
ลุงมาไถนาวัวร้อง  มอ  มอ

(ซ้ำ)


ผู้แต่ง  อาจารย์นวลศรี  รัตนสุวรรณ
เรียบเรียง  อาจารย์  ตฤน  แจ่มถิ่น






การประเมินตนเอง
   ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นระยะ  แต่ก็มีแอบคุยบ้างนิดหน่อย  มาเรียนทันเวลา  ต่แต่งกายไม่เรียนร้อย 
ชอบกิจกรรมที่อาจรยเตรียมมาเพราะทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเเพลิน

การประเมินเพื่อน
  เพื่อนๆๆตั้งใจเรียน  บางคนก็มาเรียนก่อนเวลามีการมารออาจารย์  ตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์เตรียมมา

การประเมินอาจารย์
   อาจารย์มารอนักศึกษามีการเตรียมกิจกรรมมาให้นักศุกษาทำในทุกๆคาบที่มีการเรียนการสอน  มีเพลงสำหรับเด็กปฐมวันมาให้นักศึกษาทำให้นักศึกษาเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน